วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559

การดักฟังสามารถล่วงรู้ได้ว่า คนที่กำลังพุดคิดอะไรกับเราอยูในขณะนั้น

 อีกไม่นาน ผมก็เห็นรถทหารแล่นเข้ามาจอด ช่างภาพ “พิมพ์ไทย” ยืนในตำแหน่งที่ดีที่สุดคือเป็นมุมชานบันไดที่ก้าวขึ้นมา หมายถึงว่า กล้องจะสามารถจับภาพหน้าตรงได้อย่างเหมาะเหม็ง ทหารผู้เป็นผู้ต้องหาเดินขึ้นบันได มีนายร้อยควบคุมมาเดินผ่านช่างภาพ ผ่านโต๊ะสิบเวรไปยังห้องสอบสวนทางซ้ายมือ จากนั้นผมก็ผละไปทางด้านข้างสถานีตำรวจ ที่ตรงนั้นมีร้านกาแฟ สั่งโอเลี้ยงมา ๑ แก้ว สักครู่เดียวช่างภาพ “พิมพ์ไทย” ก็เดินมานั่งอีกด้านหนึ่ง สั่งโอเลี้ยงเหมือนกัน ไม่มีการคุยกัน แต่อีกครู่หนึ่งเขาบอกกับผมว่า “ประเดี๋ยวนักข่าวจะมารับพร้อมด้วยรถยนต์” ผมไม่ว่าอะไรขณะนั้นเอง ผมได้เห็นนายทหารขั้นร้อยโทที่ควบคุมตัวผู้ต้องหาเดินตรงมาที่ช่างภาพ “พิมพ์ไทย” แล้วก็ฃอให้ถอดฟิล์ม ช่างภาพอํ้าอึ้งชั่วครู่จึงต้องถอดฟิล์มในกล้องให้ไป ช่างภาพผู้เคราะห์ร้ายผู้นี้มีชื่อเสียง  เหมือนกัน เขาคือบุญรอด ชัยชนะสำหรับผมนั้นต้องเปิดปากเล่าให้เพื่อนๆ ฟังและสงสารบุญรอดและเมื่อถูกย้อนถามว่า ผมถ่ายได้หรือเปล่า ผมยิ้มและเล่าให้ฟังถึงการเตรียมการอย่างดีจนไม่มืใครรู้นอกจากตำรวจที่ผมติดต่อคนนั้น ผมขอร้องให้เขามายืนทางด้านขวาของโต๊ะสิบเวร เหยียดแขนซ้ายออกไปเท้าหัวมุมโต๊ะ ผมเปิดกล้อง ตั้งหน้ากล้อง ตั้งความแวของชัตเตอร์พร้อมทั้งระยะที่กะพอดีกับบันไดขั้นสุดท้าย ก้าวลงบนพื้นโรงพักโดยกล้องจะอาลัยท้องแขนที่เหยียดไปเท้าหัวโต๊ะเป็นตัวบัง หน้ากล้องของผมจะไม่มีอะไรมาบังนอกจาก “ก้าวขึ้นมาก็จะพอดีกับชัตเตอร์กดลง”

 แล้วผมก็พับเก็บกล้องยัดเข้าไปในอกเสื้อที่สวมอยู่ให้แขนซ้ายหนีบเอาไว้ แล้วใครล่ะจะเห็นหรือรู้ว่าผมมีกล้องเรื่องการใช้ไหวพริบแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้นั้น ถือว่า “นักข่าว” ควรต้องกลับสำนักงานพร้อมด้วยข่าวและภาพที่เกิดขึ้น การแข่งขันระหว่าง “พิมฟ่ใทย” กับ “เดลิเมล์” เฉพาะอย่างยิ่งของนักข่าว-ช่างภาพนั้นอยู่ข้างจะหนักหนาทีเดียว แต่เมื่อพบกันระหว่างทำข่าวด้วยกันก็ต่างคนต่างทำ อย่างเช่นได้ข่าวจากเสมียนเวรหรือพบเหตุการณ์บนสถานีตำรวจด้วยกัน ผมจะไม่แสดงตัว ล่วน เครื่องดักฟังราคา  “พิมพ็ใทย”มีช่างภาพมาด้วยจึงหนีไม่พ้นคำถาม “เป็นนักข่าว...หรือ” แล้วผู้ตกเป็นข่าวจึงมักจะพูดน้อยผมจะไม่แสดงตัวจนกว่า “พิมฟัใทย” จะขึ้นรถกลับออกไป ผมจึงจะชวนคุย ซึ่งจะได้รับฟังเรื่องราวเหมือนกับว่าเรื่องที่พูดทั้งเล่าให้ฟังและปรับทุกข์ด้วย ไม่ว่าใครก็ตามคงเข้าใจว่าน่าจะเป็นใครที่อยู่กับสถานีตำรวจนั้นๆการทำข่าวยุคนั้นจะมีความวิตกอยู่เสมอว่า พรุ่งนี้...(คือเมื่อหนังสือออกแล้ว) จะตกข่าวในสายที่รับผิดชอบหรือเปล่า... ดักฟังเสียง คุณเฉลิมเคยเจอเข้าจั๋งหนับท้องที่นางเสื้ง คุณทนงขึ้นแท่นสวดชนิดไม่มีเบรกเลย ฉะนันเมื่อพบกับ “พิมฟัใทย” ก็ต้องทำข่าวให้ดีที่สุดและต้องแน่ใจว่าไม่ตกข่าวไม่พลาดข่าว อาศัยที่สามารถตีสนิทกับสิบเวรได้ จึงมักจะใช้โทรศัพท์ไปตรวจสอบเสมอๆ แม้กระทั่งกลางคืนที่อยู่เวร และก็โซคดีเหมือนกันสถานีตำรวจพญาไทกับปทุมวันมักจะไม่พลาดเพราะผูกสัมพันธ์ไว้แน่นหนาทีเดียว เฉพาะปทุมวันนั้น แม่ค้าที่ขายข้าวแกง-โอเลี้ยงจะเป็นส่วนแต่งเติมบรรยากาศของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนโรงพักให้ฟังบ่อยๆ เมื่อผมไปถึงก่อน “พิมฬใทย” และสองโรงพักนี้ไม่เคย

“ตกข่าว”ฉะนั้น ตลอดเวลาของการทำงานไม,ว่าจะตระเวนเองในตอนเช้าคือไปตามโรงพักที่รับผิดชอบหรือตอนบ่ายที่ตระเวนร่วมกัน การตระเวนบ่ายจะไม่มีการเกี่ยงกันแม้ว่าจะไม่ใช่สายที่รับมอบ แต่จะนึกเสมอว่าต้องลงจากรถหรือต้องเข้าไปในโรงพักเพื่อที่จะได้รู้จักกับสิบเวร-เสมียนเวร-ร้อยเวร หรือแม้แต่สารวัตร ในเมื่อรู้ไม่ได้ว่าจะถูกสลับสายเมื่อใดหรือคืนวันไหนอยู่เวรเกิดมีข่าวขึ้นมาจะบอกว่าไม่ใช่สายของเรานั้นคงไม่ได้แน่ คนอยู่เวรจะต้องสามารถทำข่าวได้ทุกโรงพักตามสภาพการณ์ของเหตุการณ์บ่ายวันหนึ่ง ขณะที่รถตระเวนกำลังแล่นอยู่บนถนนหน้า ร.พ.พระมงกุฎฯ ทุกคนในรถได้เห็นรถกังไม่น้อยกว่าสองศันแล่นสวนทางไปมีทหารจำนวนหนึ่งบนรถยนต์แล่นตามไปด้วย ทุกคนหันมามองหน้ากันเหมือนจะถามว่า  เครื่องดักฟังโทรศัพท์มือถือ เกิดอะไรขึ้นหรือเปล่าถ้าเป็นสมัยนี้ไม่ยากเลย ใช้ “มือถือ” ติดต่อหัวหน้าข่าวได้เลยแต่ยุคนั้น เหมือนกับนัดกัน ผมและคุณเฉลิมบอกคนขับออกมาเกือบจะพร้อมกันว่า “กลับโรงพิมพ์ด่วน” นั้นคือการตัดสินใจรถตระเวนแล่นผ่านถนนพญาไทมุ่งไปยังสี่พระยา ซี่งเป็นถนนวันเวย์โดยเลี้ยวเข้าสุรวงศัออกเจรืญกรุง ผ่านกรมไปรษณีย์กลาง ก็เห็นทหารจำนวนหนึ่งยืนรักษาการณ์ พอเลี้ยวเข้าถนนสี,พระยาจอดหน้าโรงพิมพ์   ทุกคนก้าวยาวบ้าง วิ่งบ้างขึ้นบันได ดูเหมือนทุกคนคือ คุณสมบุรณ คุณทนง และคุณพูนศิลป็อยู่กันพร้อมหน้า แล้วเราก็ได้รับรู้ว่าเกิดการ “จี้”จอมพล ป. พิบูลสงคราม ระหว่างที่มืพิธีรับเรือชุด “แมนฮัตตัน” โดยกลุ่มทหารเรือคุณสมบูรณ์เป็นคนสั่งให้คุณอำนวยอยู่สำนักงานเพื่อจดการรายงานข่าวจากวิทยุกรมประชาสัมพันธ์ คุณบรรจบ, คุณเฉลิม และผมเอารถออกตระเวนสังเกตการณ์และทำข่าว มีคุณอนันต์โกญจนาท เป็นช่างภาพ พาหนะที่เราใช้คือจี๊ปคันที่ใช้ตระเวนนั่นแหละ ยังไม่ทันจะลงบันไดก็มืเสียงคุณทนงเรียก ทั้งหมดชะงัก คุณทนงบอกว่าให้เอาป้าย“เดลิเมล์” ที่มือยู่ติดหน้ารถเผื่อจะมีปัญหาหรืออาจจะไม่ได้รับความสะดวกป้ายเดลิเมล์ความยาวเกือบเท่ากับกระจกหน้าของจี๊ปแล้วหาเชือกมามัดเอาไว้ซึ่งไม่มั่นคงนัก แต่ถือว่าพอใช้ได้


เครื่องดักฟัง